บทบรรณาธิการ – ขอทานในไทย 2023.11.23……【Press】【Thailand,ประเทศไทย】ผู้จัดการสุดสัปดาห์ – กลายเป็นประเด็นร้อนไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วสำหรับ “ขบวนการขอทานจีน” ที่เข้ามาทำมาหากินในประเทศไทย โดยปักหมุดทำเลทองใจกลางกรุง สามารถโกยรายจากความขี้สงสารและความใจบุญของไทยด้วยตัวเลขรายได้ถึงหลักล้านต่อเดือน
ที่น่าสนใจไปกว่านั้น ก็คือ บรรดาขอทานจีนเหล่านี้มีความเกี่ยวโยงกับ “ขบวนการค้ามนุษย์ข้ามชาติ” ซึ่งเป็นปัญหาระดับชาติที่รัฐบาลให้ความสำคัญ โดยรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ 2566 (TIP Report 2023) จัดอันดับให้ไทยอยู่ระดับเทียร์ 2 (Tier 2)
ที่เป็นประเด็นร้อนขึ้นมาเนื่องจาก “อินฟลูฯ สายบู๊” อย่าง
“สำหรับไทม์ไลน์ของกลุ่มขอทานชาวจีนนั้น เริ่มเดินทางเข้าประเทศไทยตั้งแต่เดือน มิ.ย. เดินทางเข้าไทยหลายครั้งโดยใช้วีซ่านักท่องเที่ยว พบ 1 ใน 6 ทำเรื่องขอศึกษาต่อเพื่อเปลี่ยนจากวีซ่าท่องเที่ยวเป็นวีซ่านักศึกษาของสถาบันเอกชนที่มีวิทยาเขตอยู่ทางภาคเหนือแห่งหนึ่ง เพื่อให้อยู่ประเทศไทยได้นานขึ้น นอกจากนี้บางรายอ้างเข้ามาท่องเที่ยวแต่ใช้เงินหมด มีผู้แนะนำให้ประกอบอาชีพขอทานเพื่อหาเงินซื้อตั๋วเครื่องบินกลับ แต่ปรากฏว่ารายได้ดีเลยติดลมทำเป็นอาชีพกระทั่งถูกจับกุม ทั้งนี้ขอทานชาวจีนมักเลือกขอทานในชุมชนแหล่งท่องเที่ยวอาศัยจุดอ่อนของคนไทยที่มีความเอื้ออารีขี้สงสาร ทำให้มีรายได้วันละกว่า 10,000 บาท” พล.ต.ต.อำนาจกล่าว
➤【泰国】1、曼谷出现多名中国籍毁容乞讨者,泰方公布调查结果
11月23日,泰国移民局副局长潘塔纳少将就曼谷出现中国籍乞讨者案件进展接受媒体采访时表示,移民局正在扩大对涉案团伙进行调查。
据泰国头条新闻社报道,潘塔纳少将称,经过排查,发现大多数涉事者是以为期30天的旅游签证的游客身份入境,也有一部分是持有学生签证入境,签证问题正在调查中。
另据泰国网报道,潘塔纳还表示,对于中国乞讨者案件,泰国国家警察总署已责令移民局和大都会警察局开展扩展调查,如果确实存在违法行为的,会将其驱逐出境。同时,如果被逮捕且被驱逐出境的,将会被列入系统黑名单,之后将无法再次入境泰国。
据此前(21日)媒体报道,近日,泰国警方在曼谷区域内发现并抓捕了多名中国籍乞讨者,这些乞讨者均有着相似特征,即肢体残缺且脸部有烫伤毁容痕迹,泰国警方怀疑此事可能涉及人口贩卖。
2、社论-泰国的乞丐
泰国社会有些人还是有给乞丐钱的价值观的。因为相信会得到功德。但事实证明,这为犯罪集团提供了机会。利用乞丐作为非法剥削的工具
这对国家的社会和经济造成了损害。
社会发展和福利信息司 社会发展和人类安全部(MSD)透露,目前泰国乞丐人数总计7,158人,其中泰国人4,685人,外国人2,473人。
乞丐最多的国家是柬埔寨和缅甸,而中国乞丐2018-2020年共发现68起,其中大部分是老年人。身体残疾 有每年多次进入泰国的历史
2023年,被发现有6名身体残疾的华人乞丐,他们都是年龄在22岁至41岁之间
3、周末热门话题:重蹈“中国乞丐赚百万”的覆辙,“善良的泰国人民”成为“受害者”,助长跨国人口贩卖问题。
根据法律,在泰国乞讨是非法的。2016 年乞丐控制法:根据新的乞丐控制法,乞讨被视为非法职业。可判处一个月监禁、不超过 10,000 泰铢的罚款,或两者并罚。任何人通过使用、雇佣、邀请、支持、教唆或者以任何其他方式使他人乞讨而向乞丐谋取利益的人,必须判处不超过3年监禁或不超过3万泰铢罚款,或两者并罚。

THAI OFFICIALS ARE INVESTIGATING CHINESE BEGGARS AND HUMAN TRAFFICKING
November 21, 2023 8:47 pm

BANGKOK – Six Chinese beggars were arrested in Bangkok on November 21, 2023, and are being investigated. Each of them earned approximately 10,000 baht a day.

Pol. Lt. Gen. Thiti Saengsaeng, commander of the Metropolitan Police Bureau, ordered the arrest of Chinese beggars in the area of Pathumwan, Phaya Thai, Bang Phlat, Bang Rak, and Thung Maha Mek, a total of 6 people, since Sunday, November 19.

Officials from the Ministry of Social Development and Human Security and the Bang Phlat Police Station started to inspect the Pinklao area in front of a well-known department store on Sunday after receiving reports that there are Chinese men and women begging there.

Firstly, they found two Chinese women whose faces appeared to have acid burns. They also have incomplete hands. One of them, who wore a Thai student uniform, fled inside the department store lavatory. The cops then came in and invited her to be inspected. They noticed she had multiple 20-baht coins and bills, totaling 10,700 baht from begging all day.

Later, a Chinese woman claimed to be the interpreter for Chinese beggars who came to the police station and requested their release by promising to pay bail. However, the police did not release them because they needed to examine whether these people had been trafficked.

According to investigation It is believed that Chinese beggars and their interpreters know each other, even though they did not enter to Thailand at the same time. Two Chinese beggars lived together in the Wang Thonglang neighbourhood, while others were allocated among Bangkok’s hotels.

The beggars who were apprehended at Phaya Thai and Bang Phlat police stations claimed to have been travelling till they ran out of money. One beggar tried to convert a tourist visa to a student visa by applying to a Thai university.

The investigation is still underway to determine whether it is an international human trafficking organisation using Thailand as a base to send money back to China. It was initially assumed that Thais were involved. Officials will also take action against individuals who supply such beggars with shelter.

Sarawut Munpho, Director of the Division of Welfare Protection and Quality of Life Promotion, Ministry of Social Development and Human Security, stated that since 2016 until now, there have been 7,151 beggars, comprising 4,678 Thais and 2,473 foreigners aged 22–47 years, the majority of whom are Cambodians, and 68 Chinese.

Varawut Silpa-archa, the Minister of the Ministry of Social Development and Human Security, addressed the issue of Chinese beggars at Government House, suggesting that these Chinese beggars may be victims of international human trafficking.

The ministry has been coordinating with various agencies, including the security and police forces. He stressed that cases involving Thai nationals are easier due to existing laws, but for foreign cases, especially those with expired passports, there are additional legal difficulties in entering the country.

Varawut emphasized that begging is illegal throughout Thailand, whether through trespassing or violations of various related laws. The problem of human trafficking in Thailand is a top priority and investigations into each case are continuing. He urged law enforcement agencies to intensify investigations into similar cases to understand their link to human trafficking.

He sent a message to the public through the mass media asking them to report any case of begging. He pointed out that both begging and giving alms to beggars is an offence against the law. When encountering foreign beggars, especially in crowded areas, citizens are urged to immediately report to the Human Security Emergency Management Center (HuSEC) by calling the hotline 1300. The centre has rapid response units and officers to deal with such problems urgently.

Currently, Thailand is in the process of preparing the Tip Report or reporting on human trafficking to the relevant foreign authorities. It is expected to be finalized by the end of this year and submitted to the relevant authorities in January 2024.

Thailand is therefore required to submit this report annually, which consists of three main sections: 1) judicial proceedings and prosecution, 2) prevention and awareness raising, and 3) victim assistance and support. Various agencies, including the National Police, the Ministry of Labour and the Ministry of Social Development and Human Security, oversee each section.

Thailand is currently classified as Tier 2, which corresponds to a medium level. The government has been actively working to maintain this status both in the current and previous terms of office. The aim is to elevate Thailand to Tier 1.


บทบรรณาธิการ – ขอทานในไทย

24 พ.ย. 2566 – 13:34 น.

ขอทานเป็นปัญหาสําคัญของสังคมไทย ส่งผลต่อภาพลักษณ์ประเทศ สาเหตุเกิดจากโครงสร้างสังคม การพัฒนาที่ยังเหลื่อมล้ำไม่เท่าเทียมกัน ประชาชนบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการภาครัฐ หรือได้รับไม่เพียงพอต่อการดํารงชีวิต

ขาดการศึกษา ขาดงานทำ ไม่มีรายได้ทางอื่น เป็นเหตุให้ไม่สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ยกระดับฐานะครอบครัวให้พ้นเส้นขีดความยากจน ทําให้ต้องมาเป็นขอทานเพื่อความอยู่รอด นอกจากนี้ยังมีปัญหาคนต่างชาติลักลอบเข้ามาขอทานในไทยจํานวนมาก

คนในสังคมไทยบางส่วนยังมีค่านิยมให้เงินขอทาน เพราะเชื่อว่าได้บุญ แต่กลับกลายเป็นการเปิดโอกาสให้กลุ่มมิจฉาชีพ ใช้คนขอทานเป็นเครื่องมือแสวงหาประโยชน์ผิดกฎหมาย

เกิดเป็นความเสียหายทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ

ข้อมูลกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เผยจำนวนขอทานในไทยปัจจุบัน ทั้งสิ้น 7,158 ราย เป็นคนไทย 4,685 ราย ต่างด้าว 2,473 ราย

ประเทศที่เข้ามาขอทานมากที่สุด คือ กัมพูชา เมียนมา ส่วนขอทานชาวจีนพบในปี 2561-2563 จำนวน 68 ราย ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ พิการทางร่างกาย มีประวัติเข้ามาในไทยหลายครั้งต่อปี

ในปี 2566 พบขอทานชาวจีน 6 ราย พิการร่างกาย เป็นวัยแรงงานอายุ 22-41 ปี จังหวัดที่พบขอทานมากที่สุดคือ กรุงเทพฯ สุรินทร์ สมุทรปราการ ปทุมธานี ตามลำดับ ขอทานต่างชาติส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม วัยแรงงาน ไม่ใช่คนสูงอายุเหมือนในอดีต ทั้งหมด ถือวีซ่านักท่องเที่ยว

ส่วนใหญ่มักอาศัยอยู่ในย่าน นักท่องเที่ยว ชุมชน มีรายได้สูงถึง 10,000 บาทต่อวัน

การเป็นขอทานเกิดจาก 2 สาเหตุหลัก คือ เป็นผู้ยากไร้ ไม่มีที่อยู่อาศัย ไร้ญาติ ไม่สามารถประกอบอาชีพอื่นได้

อีกสาเหตุ คือ เป็นธุรกิจขบวนการค้ามนุษย์ ล่อลวงเหยื่อทั้งคนไทยและต่างชาติมาเป็นขอทาน อาจมีการบังคับทําร้ายร่างกายถึงขั้นตัดอวัยวะ เพื่อให้เป็นที่น่าเวทนาสงสารต่อผู้พบเห็น เช่นที่กำลังเป็นข่าวครึกโครม

ขอทานเป็นอาชีพผิดกฎหมาย ทุกคนร่วมกันแก้ไขได้โดยปฏิเสธให้เงินช่วยเหลือ เพราะเท่ากับเป็นการสนับสนุนส่งเสริมให้ทำผิดกฎหมาย

ขณะเดียวกันรัฐบาลต้องเร่งแก้สังคมเหลื่อมล้ำ การเข้าถึงสวัสดิการของรัฐได้อย่างเท่าเทียม สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้เพียงพอต่อการดำรงชีวิต ส่วนที่เป็นขอทานต่างชาติ ก็ต้องปราบปราม จับกุม ส่งกลับ

เพื่อรักษาภาพลักษณ์และป้องกันไม่ให้ประเทศไทยเป็นแหล่งหาประโยชน์ของขบวนการค้ามนุษย์ทุกประเภท


ย้อนรอย “ขอทานจีนเงินล้าน” “คนไทยใจดี” ตกเป็น “เหยื่อ” ดันปัญหาค้ามนุษย์ข้ามชาติ
เผยแพร่: 25 พ.ย. 2566 06:04 ปรับปรุง: 25 พ.ย. 2566 06:04

ผู้จัดการสุดสัปดาห์ – กลายเป็นประเด็นร้อนไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วสำหรับ “ขบวนการขอทานจีน” ที่เข้ามาทำมาหากินในประเทศไทย โดยปักหมุดทำเลทองใจกลางกรุง สามารถโกยรายจากความขี้สงสารและความใจบุญของไทยด้วยตัวเลขรายได้ถึงหลักล้านต่อเดือน

ที่น่าสนใจไปกว่านั้น ก็คือ บรรดาขอทานจีนเหล่านี้มีความเกี่ยวโยงกับ “ขบวนการค้ามนุษย์ข้ามชาติ” ซึ่งเป็นปัญหาระดับชาติที่รัฐบาลให้ความสำคัญ โดยรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ 2566 (TIP Report 2023) จัดอันดับให้ไทยอยู่ระดับเทียร์ 2 (Tier 2)

ที่เป็นประเด็นร้อนขึ้นมาเนื่องจาก “อินฟลูฯ สายบู๊” อย่าง

“สำหรับไทม์ไลน์ของกลุ่มขอทานชาวจีนนั้น เริ่มเดินทางเข้าประเทศไทยตั้งแต่เดือน มิ.ย. เดินทางเข้าไทยหลายครั้งโดยใช้วีซ่านักท่องเที่ยว พบ 1 ใน 6 ทำเรื่องขอศึกษาต่อเพื่อเปลี่ยนจากวีซ่าท่องเที่ยวเป็นวีซ่านักศึกษาของสถาบันเอกชนที่มีวิทยาเขตอยู่ทางภาคเหนือแห่งหนึ่ง เพื่อให้อยู่ประเทศไทยได้นานขึ้น นอกจากนี้บางรายอ้างเข้ามาท่องเที่ยวแต่ใช้เงินหมด มีผู้แนะนำให้ประกอบอาชีพขอทานเพื่อหาเงินซื้อตั๋วเครื่องบินกลับ แต่ปรากฏว่ารายได้ดีเลยติดลมทำเป็นอาชีพกระทั่งถูกจับกุม ทั้งนี้ขอทานชาวจีนมักเลือกขอทานในชุมชนแหล่งท่องเที่ยวอาศัยจุดอ่อนของคนไทยที่มีความเอื้ออารีขี้สงสาร ทำให้มีรายได้วันละกว่า 10,000 บาท” พล.ต.ต.อำนาจกล่าว

ทั้งนี้ การขอทานในไทยเป็นเรื่องผิดกฎหมายตาม พ.ร.บ.ควบคุมขอทาน พ.ศ.2559 ขอทานถือเป็นอาชีพที่ผิดกฎหมาย ตาม พ.ร.บ.ควบคุมการขอทาน ฉบับใหม่ มีโทษจำคุก 1 เดือน ปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และผู้ใดแสวงหาประโยชน์จากผู้ทำการขอทาน โดยการใช้ จ้าง วาน สนับสนุน ยุยงส่งเสริม หรือกระทำด้วยวิธีการอื่นใดให้ผู้อื่นทำการขอทาน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 3 หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

กล่าวสำหรับ กรณีขบวนการ “ขอทานจีน” เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์หรือไม่ ยังอยู่ระหว่างการตรวจสอยขยายผล แต่ที่แน่ๆ คือ สถานการณ์ค้ามนุษย์ยังเป็นปัญหาในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์นับเป็นวาระแห่งชาติของไทย โดยกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มีความพยายามจัดระเบียบขอทานมาโดยตลอดแต่ยังไม่สามารถควบคุมได้

นายวราวุธ ศิลปอาชา” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เปิดเผยว่า กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (พส.) ได้ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจในท้องที่ และภาคประชาสังคม ลงพื้นที่จัดระเบียบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง โดยหากเป็นคนต่างด้าวก็ต้องส่งสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) ผลักดันกลับประเทศต้นทาง ส่วนกรณีขอทานที่เป็นคนไทยก็จะนำเข้าสู่สถานคุ้มครองเพื่อรับการฝึกอาชีพตามความสมัครใจ หรือส่งกลับภูมิลำเนา ส่วนใหญ่ไม่ค่อยสมัครใจเข้าสถานคุ้มครอง และหากบังคับก็อาจจะถูกมองขัดหลักสิทธิมนุษยชน อย่างไรก็ตาม เมื่อส่งกลับสักระยะก็กลับเข้ามาอีก เนื่องจากเห็นว่าเป็นช่องทางที่หารายได้ง่าย โดย พม. ไม่มีอำนาจในการดำเนินการจับกุม ต้องอาศัยเจ้าหน้าที่ตำรวจดำเนินการแนวทางการเพิ่มความเข้มข้นของกฎหมายเป็นกลไกในการป้องปรามกระบวนการขอทาน

ด้าน

ผู้อำนวยการกองคุ้มครองสวัสดิภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ระบุว่า ข้อมูล ณ ปัจจุบันมีขอทานทั้งสิ้น 7,151 คน เป็นขอทานชาวไทย 4,678 คน ชาวต่างชาติ 2,473 คน ส่วนใหญ่เป็นชาวกัมพูชาและเมียนมา ที่เหลือเป็นชาวจีน 68 คน เข้ามาขอทานในประเทศไทยในรูปแบบของขบวนการขอทาน

ล่าสุด กระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐฯ เผยแพร่ “

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ ประจำปี 2566 (TIP Report 2023)” จัดอันดับให้ไทย อยู่ที่ระดับเทียร์ 2 (Tier 2) ระบุว่ารัฐบาลไทยมีความพยายามอย่างมากในการดำเนินการจัดการกับปัญหาการค้ามนุษย์ และแสดงให้เห็นถึงความพยายามที่เพิ่มขึ้น รวมถึงประสิทธิภาพที่เพิ่มมากขึ้นของหน่วยงานของไทยในการค้นหาและยืนยันตัวตนของผู้ที่เป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ การเริ่มใช้แผนปฏิบัติการว่าด้วยกลไกการส่งต่อระดับชาติ (National Referral Mechanism: NRM) และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ NRM เป็นต้น

สำหรับ TIP Report เป็นการรวบรวมรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ในประเทศต่างๆ โดยมีเป้าประสงค์เพื่อแสดงถึงความพยายามที่ประสบความสำเร็จในการป้องกันการค้ามนุษย์ และเพื่อกำจัดการค้ามนุษย์ให้หมดไป

โดยขณะนี้ประเทศไทยอยู่ในขั้นตอนรวบรวมทำรายงาน Tip Report หรือการส่งรายงานเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ให้กับหน่วยงานต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง โดยภายในเดือน ม.ค. 2567 จะส่งให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาต่อไป

ทุกๆ ปีประเทศไทยต้องทำรายงานดังกล่าว โดยมี 3 ส่วนประกอบสำคัญ 1. การดำเนินคดีและการฟ้องร้องทางกฎหมาย 2. การป้องกันและสร้างการรับรู้ 3. การเยียวยาและดูแล แต่ละส่วนจะมีหน่วยงานที่ดูแลต่างกันไป ทางสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน และ พม. โดยเป้าหมายไทยต้องทำให้การเลื่อนสถานะเป็น เทียร์ 1

อย่างไรก็ตาม กรณี “ขบวนการขอทานจีน” กลายเป็นเรื่องร้อนสะเทือน “ฟรีวีซ่าจีน” ของรัฐบาลเศรษฐา ทวีสิน ที่มีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจท่องเที่ยว เพราะดูเหมือนฟรีวีซ่าจีนอาจเป็นช่องเอื้อให้กลุ่มจีนเทาแฝงตัวเข้ามาทำผิดกฎหมาย ดังเช่นกรณี “ขอทานจีนเงินล้าน” ที่ทางการไทยกำลังสะสางปัญหาอยู่ให้ห้วงเวลานี้ ซึ่งทาง นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เผยว่าว่าทุนจีนสีเทามีมานานแล้ว ไม่ได้เกี่ยวกับการฟรีวีซ่าหรือไม่ ซึ่งสิ่งที่ต้องทำคือการบริหารจัดการต่อจากนี้

สำหรับสถานการณ์ “ขอทานข้ามชาติชาวจีน” ยังคงต้องติดตามความชัดเจนว่ามีความเกี่ยวข้องกับขบวนค้ามนุษย์หรือไม่?

ประการสำคัญประชาชนคนไทยต้องหยุดการให้เงินขอทาน และไม่สนับสนุนการขอทานทุกรูปแบบ.


评论

《“บทบรรณาธิการ – ขอทานในไทย 2023.11.23……【Press】【Thailand,ประเทศไทย】ผู้จัดการสุดสัปดาห์ – กลายเป็นประเด็นร้อนไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วสำหรับ “ขบวนการขอทานจีน” ที่เข้ามาทำมาหากินในประเทศไทย โดยปักหมุดทำเลทองใจกลางกรุง สามารถโกยรายจากความขี้สงสารและความใจบุญของไทยด้วยตัวเลขรายได้ถึงหลักล้านต่อเดือน
ที่น่าสนใจไปกว่านั้น ก็คือ บรรดาขอทานจีนเหล่านี้มีความเกี่ยวโยงกับ “ขบวนการค้ามนุษย์ข้ามชาติ” ซึ่งเป็นปัญหาระดับชาติที่รัฐบาลให้ความสำคัญ โดยรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ 2566 (TIP Report 2023) จัดอันดับให้ไทยอยู่ระดับเทียร์ 2 (Tier 2)
ที่เป็นประเด็นร้อนขึ้นมาเนื่องจาก “อินฟลูฯ สายบู๊” อย่าง
“สำหรับไทม์ไลน์ของกลุ่มขอทานชาวจีนนั้น เริ่มเดินทางเข้าประเทศไทยตั้งแต่เดือน มิ.ย. เดินทางเข้าไทยหลายครั้งโดยใช้วีซ่านักท่องเที่ยว พบ 1 ใน 6 ทำเรื่องขอศึกษาต่อเพื่อเปลี่ยนจากวีซ่าท่องเที่ยวเป็นวีซ่านักศึกษาของสถาบันเอกชนที่มีวิทยาเขตอยู่ทางภาคเหนือแห่งหนึ่ง เพื่อให้อยู่ประเทศไทยได้นานขึ้น นอกจากนี้บางรายอ้างเข้ามาท่องเที่ยวแต่ใช้เงินหมด มีผู้แนะนำให้ประกอบอาชีพขอทานเพื่อหาเงินซื้อตั๋วเครื่องบินกลับ แต่ปรากฏว่ารายได้ดีเลยติดลมทำเป็นอาชีพกระทั่งถูกจับกุม ทั้งนี้ขอทานชาวจีนมักเลือกขอทานในชุมชนแหล่งท่องเที่ยวอาศัยจุดอ่อนของคนไทยที่มีความเอื้ออารีขี้สงสาร ทำให้มีรายได้วันละกว่า 10,000 บาท” พล.ต.ต.อำนาจกล่าว
➤【泰国】1、曼谷出现多名中国籍毁容乞讨者,泰方公布调查结果
11月23日,泰国移民局副局长潘塔纳少将就曼谷出现中国籍乞讨者案件进展接受媒体采访时表示,移民局正在扩大对涉案团伙进行调查。
据泰国头条新闻社报道,潘塔纳少将称,经过排查,发现大多数涉事者是以为期30天的旅游签证的游客身份入境,也有一部分是持有学生签证入境,签证问题正在调查中。
另据泰国网报道,潘塔纳还表示,对于中国乞讨者案件,泰国国家警察总署已责令移民局和大都会警察局开展扩展调查,如果确实存在违法行为的,会将其驱逐出境。同时,如果被逮捕且被驱逐出境的,将会被列入系统黑名单,之后将无法再次入境泰国。
据此前(21日)媒体报道,近日,泰国警方在曼谷区域内发现并抓捕了多名中国籍乞讨者,这些乞讨者均有着相似特征,即肢体残缺且脸部有烫伤毁容痕迹,泰国警方怀疑此事可能涉及人口贩卖。
2、社论-泰国的乞丐
泰国社会有些人还是有给乞丐钱的价值观的。因为相信会得到功德。但事实证明,这为犯罪集团提供了机会。利用乞丐作为非法剥削的工具
这对国家的社会和经济造成了损害。
社会发展和福利信息司 社会发展和人类安全部(MSD)透露,目前泰国乞丐人数总计7,158人,其中泰国人4,685人,外国人2,473人。
乞丐最多的国家是柬埔寨和缅甸,而中国乞丐2018-2020年共发现68起,其中大部分是老年人。身体残疾 有每年多次进入泰国的历史
2023年,被发现有6名身体残疾的华人乞丐,他们都是年龄在22岁至41岁之间
3、周末热门话题:重蹈“中国乞丐赚百万”的覆辙,“善良的泰国人民”成为“受害者”,助长跨国人口贩卖问题。
根据法律,在泰国乞讨是非法的。2016 年乞丐控制法:根据新的乞丐控制法,乞讨被视为非法职业。可判处一个月监禁、不超过 10,000 泰铢的罚款,或两者并罚。任何人通过使用、雇佣、邀请、支持、教唆或者以任何其他方式使他人乞讨而向乞丐谋取利益的人,必须判处不超过3年监禁或不超过3万泰铢罚款,或两者并罚。”》 有 1 条评论

发表回复

您的电子邮箱地址不会被公开。 必填项已用 * 标注